“คุรุสภา” เปิดแผนพฤติกรรมครูที่ควรและไม่ควรปฏิบัติต่อเด็ก พร้อมชวนครูศึกษา ทำความเข้าใจ และตรวจสอบพฤติกรรมตนเอง เมื่อวันที่ 24 ก.พ. ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา กล่าวว่า วิชาชีพครู เป็นวิชาชีพที่มีความใกล้ชิด ละเอียดอ่อนและมีอิทธิพลต่อคุณภาพการศึกษาที่ส่งต่อถึงคุณภาพของผู้เรียน โดยผู้ประกอบวิชาชีพครู เป็นบุคคลที่สถานศึกษา ผู้ปกครองและสังคมล้วนแต่คาดหวังว่าจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณของวิชาชีพครู จึงให้ความไว้วางใจที่จะฝากบุตรหลานของตนเองให้อยู่ในความดูแลของครู และให้สิทธิครูในการอบรมสั่งสอน ให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะความสามารถของผู้เรียนในแต่ละระดับและตามแต่ละช่วงวัย รวมถึงการปรับพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นคนดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข และสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้แก่สังคมต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพครูไม่เข้าใจหรือไม่ตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ดังกล่าว อาจใช้วิธีการจัดการเรียนรู้หรือปรับพฤติกรรมของผู้เรียนในทางที่ไม่เหมาะสมและเกิดผลร้ายต่อผู้เรียน ซึ่งขัดต่อจรรยาบรรณของวิชาชีพครู อันจะนำไปสู่การถูกดำเนินการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครูได้            ผศ.ดร.อมลวรรณ กล่าวต่อไปว่า คุรุสภาในฐานะสภาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาได้กำหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550 ซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนพฤติกรรมที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ โดยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพครูที่มีต่อผู้รับบริการมีดังนี้ ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอภาค, ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ, ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ,ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ และครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ                 เลขาธิการคุรุสภา กล่าวอีกว่า ส่วนแบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1.ให้คำปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำลังความสามารถและเสมอภาค 2.สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส 3.ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล 4.ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย 5.ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง และ 6.เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กำลังใจอย่างกัลยาณมิตร

“คุรุสภา” เปิดแผนพฤติกรรมครูที่ควรและไม่ควรปฏิบัติต่อเด็ก พร้อมชวนครูศึกษา ทำความเข้าใจ และตรวจสอบพฤติกรรมตนเอง เมื่อวันที่ 24 ก.พ. ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา กล่าวว่า วิชาชีพครู เป็นวิชาชีพที่มีความใกล้ชิด ละเอียดอ่อนและมีอิทธิพลต่อคุณภาพการศึกษาที่ส่งต่อถึงคุณภาพของผู้เรียน โดยผู้ประกอบวิชาชีพครู เป็นบุคคลที่สถานศึกษา ผู้ปกครองและสังคมล้วนแต่คาดหวังว่าจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณของวิชาชีพครู จึงให้ความไว้วางใจที่จะฝากบุตรหลานของตนเองให้อยู่ในความดูแลของครู และให้สิทธิครูในการอบรมสั่งสอน ให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะความสามารถของผู้เรียนในแต่ละระดับและตามแต่ละช่วงวัย รวมถึงการปรับพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นคนดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข และสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้แก่สังคมต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพครูไม่เข้าใจหรือไม่ตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ดังกล่าว อาจใช้วิธีการจัดการเรียนรู้หรือปรับพฤติกรรมของผู้เรียนในทางที่ไม่เหมาะสมและเกิดผลร้ายต่อผู้เรียน ซึ่งขัดต่อจรรยาบรรณของวิชาชีพครู อันจะนำไปสู่การถูกดำเนินการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครูได้            ผศ.ดร.อมลวรรณ กล่าวต่อไปว่า คุรุสภาในฐานะสภาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาได้กำหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550 ซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนพฤติกรรมที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ โดยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพครูที่มีต่อผู้รับบริการมีดังนี้ ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอภาค, ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ, ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ,ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ และครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ                 เลขาธิการคุรุสภา กล่าวอีกว่า ส่วนแบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1.ให้คำปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำลังความสามารถและเสมอภาค 2.สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส 3.ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล 4.ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย 5.ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง และ 6.เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กำลังใจอย่างกัลยาณมิตร

“คุรุสภา” เปิดแผนพฤติกรรมครูที่ควรและไม่ควรปฏิบัติต่อเด็ก พร้อมชวนครูศึกษา ทำความเข้าใจ และตรวจสอบพฤติกรรมตนเอง เมื่อวันที่ 24 ก.พ. ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา กล่าวว่า วิชาชีพครู เป็นวิชาชีพที่มีความใกล้ชิด ละเอียดอ่อนและมีอิทธิพลต่อคุณภาพการศึกษาที่ส่งต่อถึงคุณภาพของผู้เรียน โดยผู้ประกอบวิชาชีพครู เป็นบุคคลที่สถานศึกษา ผู้ปกครองและสังคมล้วนแต่คาดหวังว่าจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณของวิชาชีพครู จึงให้ความไว้วางใจที่จะฝากบุตรหลานของตนเองให้อยู่ในความดูแลของครู และให้สิทธิครูในการอบรมสั่งสอน ให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะความสามารถของผู้เรียนในแต่ละระดับและตามแต่ละช่วงวัย รวมถึงการปรับพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นคนดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข และสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้แก่สังคมต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพครูไม่เข้าใจหรือไม่ตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ดังกล่าว อาจใช้วิธีการจัดการเรียนรู้หรือปรับพฤติกรรมของผู้เรียนในทางที่ไม่เหมาะสมและเกิดผลร้ายต่อผู้เรียน ซึ่งขัดต่อจรรยาบรรณของวิชาชีพครู อันจะนำไปสู่การถูกดำเนินการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครูได้            ผศ.ดร.อมลวรรณ กล่าวต่อไปว่า คุรุสภาในฐานะสภาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาได้กำหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550 ซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนพฤติกรรมที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ โดยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพครูที่มีต่อผู้รับบริการมีดังนี้ ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอภาค, ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ, ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ,ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ และครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ                 เลขาธิการคุรุสภา กล่าวอีกว่า ส่วนแบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1.ให้คำปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำลังความสามารถและเสมอภาค 2.สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส 3.ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล 4.ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย 5.ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง และ 6.เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กำลังใจอย่างกัลยาณมิตร

ประกาศโรงเรียนชุมชนวัดเขาไม้แก้ว
เรื่อง รับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อจ้างเป็นครูอัตราจ้างทําหน้าที่ครูผู้สอน ตําแหน่งครูอัตราจ้าง
งบกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ปีการศึกษา 2567

ด้วยโรงเรียนชุมชนวัดเขาไม้แก้ว ตําบลเขาไม้แก้ว อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 มีความประสงค์จะรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อจ้างเป็นครูอัตราจ้างทําหน้าที่ครูผู้สอน จํานวน 3 ตําแหน่ง คือ ครูอัตราจ้างทําหน้าที่การสอนวิชาคณิตศาสตร์, ปฐมวัย และวิชาพลศึกษา ดังนั้นอาศัยตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนมาก ที่ ศธ 04009/3876 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2547 และคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 29/2546 สั่ง ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2546 เรื่องมอบอํานาจปฏิบัติราชการแทนเกี่ยวกับลูกจ้างชั่วคราว และเกณฑ์และวิธีการบริหารงานบุคคล/ลูกจ้างชั่วคราว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2547 จึงประกาศรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อเป็นครูอัตราจ้างชั่วคราวทําหน้าที่ครูผู้สอน ดังนี้

1. ตําแหน่งที่จะดําเนินการสอบคัดเลือกเพื่อจ้างเป็นครูอัตราจ้าง จํานวน 3 อัตรา
1.1 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ จํานวน 1 อัตรา
1.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จํานวน 1 อัตรา
1.3 สาขาวิชาพลศึกษา จํานวน 1 อัตรา
อัตราค่าจ้างเดือนละ 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

2. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครสอบคัดเลือก เป็นผู้มีคุณสมบัติ ดังนี้
2.1 เป็นผู้มีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
2.2 เป็นผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรีทาการศึกษา คุรุศาสตร์บัณฑิต/ศึกษาศาสตร์บัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตสาขาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาคณิตศาสตร์, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และ สาขาวิชาพลศึกษา หรือสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามที่ ก.ค.ศ.กําหนด
2.3 เป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 หรือมีหนังสือรับรองสิทธิที่คณะกรรมการคุรุสภาออกให้หรือมีหนังสือรับรองสิทธิที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการคุรุสภาออกให้

2.4 ไม่เป็นพระภิกษุ หรือสามเณร นักพรต นักบวช
2.5 ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ หรือ จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการพลเรือน
2.6 ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดหรือคําสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือลหุโทษ
2.7 ไม่เคยเป็นผู้ถูกลงโทษปลดหรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ
2.8 ไม่เคยเป็นผู้ถูกลงโทษปลดหรือไล่ออกเพราะกระทําความผิดวินัยตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
2.9 ไม่เคยเป็นผู้กระทําทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ

3. วัน เวลา และสถานที่รับสมัครสอบคัดเลือก
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบคัดเลือก ให้ขอรับใบสมัครและยื่นใบสมัครได้ที่โรงเรียนชุมชนวัดเขาไม้แก้ว อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีสมัครได้ตั้งแต่วันที่ 4 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2567 เวลา 08.30 - 16.30 น.

 

ข้ามไปยังทูลบาร์